ข้อมูลนักวิจัย อนินท์ มีมนต์

ข้อมูลส่วนตัว
    • ชื่อ-นามสกุล (ภาษาไทย)รศ.ดร.อนินท์ มีมนต์
    • ชื่อ-นามสกุล (ภาษาอังกฤษ)รศ.ดร.Anin Memon
    • ตำแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์
    • ตำแหน่งปัจจุบันรองศาสตราจารย์
    • คณะ/หน่วยงานคณะวิศวกรรมศาสตร์
    • โทรศัพท์0642935XXX
    • E-Mail Addressanin.m@en.rmut.ac.th
    • สาขาวิชาการที่มีความชำนาญPlastic mold design, Metallic materials, Computer Adi Design
    อัพเดทล่าสุด
    09 ก.ย. 2566
    00270
    จำนวนคนดู
โครงการงานวิจัย
1. 2567 : การศึกษาและออกแบบผนังโมดุลล่าบล็อคจากวัสดุผสมพลาสติกและกระดาษ ผู้ร่วมวิจัย 2. 2566 : คอมโพสิตสีเขียวที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมจากพอลิแลคติกแอซิดเสริมแรงด้วยเส้นใยกัญชงแบบจัดเรียงตัวทิศทางเดียว ผู้ร่วมวิจัย 3. 2566 : การพัฒนาแผ่นดูดซับน้ำมันจากกระดาษรีไซเคิ้ลกล่องนมและนอนวูฟเวนทางชีวภาพแบบหลายชั้น ผู้ร่วมวิจัย 4. 2565 : แพลตฟอร์มบริหารจัดการทรัพยากรผู้มีศักยภาพของกลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เพื่อปฏิรูประบบการพัฒนากำลังคนของประเทศ (แผนย่อยภายใต้ รศ.ดร.กฤษณ์ชนม์) หัวหน้าโครงการ 5. 2563 : โครงการศึกษาวิจัยแผนการขับเคลื่อนและปฎิรูประบบการเรียนรู้สำหรับการพัฒนาบุคลากรวัยเรียนและวัยทำงานร่วมกับภาคอุตสาหกรรมและส่งเสริมระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อรองรับผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีและธุรกิจอย่างฉับพลัน ในกลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี หัวหน้าโครงการ 6. 2563 : การพัฒนาแผ่นวัสดุผสมจากขยะจากบรรจุภัณฑ์ฟิล์มพลาสติกเคลือบด้วยอลูมิเนียมสำหรับงานตกแต่งภายในอาคาร หัวหน้าโครงการ 7. 2563 : การพัฒนากำลังคนในกระบวนการผลิตวัสดุคอมโพสิตที่มีน้ำหนักเบาเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนต์ หัวหน้าโครงการ 8. 2562 : การสร้างแม่พิมพ์เทอร์โมฟอร์มมิ่งด้วยกระบวนการพิมพ์สามมิติสำหรับสร้างบรรจุภัณฑ์สินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน หัวหน้าโครงการ 9. 2562 : การศึกษากระบวนการพิมพ์สามมิติด้วยการใช้เส้นพลาสติกจากพอลิพรอพิลีนผสมรำข้าว ผู้ร่วมวิจัย 10. 2562 : เส้นพลาสติกสำหรับงานพิมพ์สามมิติจากจากพอลิแลคติคแอซิดผสมเส้นใยจากใบสัปปะรด ผู้ร่วมวิจัย 11. 2562 : การออกแบบและสร้างเครื่องขึ้นรูปเส้นพลาสติกสำหรับงานพิมพ์สามมิติจากพลาสติกรีไซเคิล ผู้ร่วมวิจัย 12. 2561 : การใช้ประโยชน์จากเศษหินแอนไฮไดรต์สำหรับผลิตภัณฑ์แผ่นใยอัดซีเมนต์น้ำหนักเบา หัวหน้าโครงการ 13. 2561 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์บล็อกปูพื้นจากเศษหินแอนไฮไดรต์เพื่อชุมชนท้องถิ่น หัวหน้าโครงการ 14. 2561 : การใช้ประโยชน์จากเศษหินที่เหลือทิ้งในกระบวนการทำเหมืองหินแอนไฮไดรต์ในงานผลิตภัณฑ์วัสดุก่อสร้างเพื่อชุมชนท้องถิ่นและเชิงพาณิชย์ ผู้ร่วมวิจัย 15. 2561 : บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจากเส้นใยของเปลือกข้าวโพด ผู้ร่วมวิจัย 16. 2560 : การออกแบบและพัฒนาเครื่องปฏิกรณ์แบบกึ่งกะสำหรับการไพโรไลซิสร่วมระหว่างน้ำมันเครื่องใช้แล้วกับขยะพลาสติกจากหลุมฝังกลบ ผู้ร่วมวิจัย 17. 2560 : การขึ้นรูปวัสดุคอมโพสิตแบบความยาวต่อเนื่องจากเส้นใยปอเสริมแรงในพอลิพรอพิลีนด้วยกระบวนการขึ้นรูปแบบพลูทรูชั่น หัวหน้าโครงการ 18. 2560 : การไพโรไลซิสร่วมระหว่างน้ำมันเครื่องใช้แล้วกับขยะพลาสติกจากหลุมฝังกลบเพื่อผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับรถขนขยะเทศบาล ผู้ร่วมวิจัย 19. 2560 : การสร้างเครื่องอัดรีดขนาดเล็กสำหรับผลิตขนมขบเคี้ยวเพื่อสุขภาพจากข้าวไรซ์เบอรี่ ผู้ร่วมวิจัย 20. 2560 : เครื่องบรรจุและปิดผนึกผลิตภัณฑ์ชุมชนน้ำพริกชนิดผงสำหรับพกพาสะดวกแบบ 4 ชิ้นย่อยในหนึ่งบรรจุภัณฑ์ ผู้ร่วมวิจัย 21. 2560 : การออกแบบพัฒนาและสร้างเครื่องขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ชุมชนปลาร้าก้อน หัวหน้าโครงการ 22. 2560 : การพัฒนาออกแบบสร้างเครื่องจักรและอุปกรณ์สำหรับการผลิตอาหารเพื่อยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนในตลาดที่มีการแข่งขันสูง หัวหน้าโครงการ 23. 2560 : วิธีการกำจัดสารคลอรีนของผลิตภัณฑ์น้ำมันในกระบวนการไพโรไลซิสร่วมระหว่างน้ำมันเครื่องใช้แล้วกับขยะพลาสติกจากหลุมฝังกลบ ผู้ร่วมวิจัย 24. 2559 : กระบวนการขึ้นรูปวัสดุคอมโพสิตจากเส้นใยปอเสริมแรงในพอลิแลคติคเอสิทด้วยกระบวนการพลูทรูชั่น หัวหน้าโครงการ 25. 2559 : การใช้เส้นใยธรรมชาติเสริมแรงในพอลิแลคติคแอซิดสำหรับผลิตวัสดุคอมโพสิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หัวหน้าโครงการ 26. 2559 : การไพโรไลซิสร่วมระหว่างน้ำมันเครื่องใช้แล้วกับขยะพลาสติกจากหลุมฝังกลบเพื่อผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับรถขนขยะเทศบาล ผู้ร่วมวิจัย 27. 2559 : กระบวนการขึ้นรูปแผ่นวัสดุคอมโพสิตจากกระสอบปอบรรจุข้าวที่ใช้แล้วเสริมแรงในพอลิเอสเตอร์เรซินด้วยการใช้กระบวนการทาด้วยมือ ผู้ร่วมวิจัย 28. 2558 : กระดาษธรรมชาติจากเยื่อไม้ไผ่ผสมผงพลาสติกพีแอลเอสำหรับสร้างบรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้ หัวหน้าโครงการ 29. 2558 : การพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูงในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผู้ร่วมวิจัย