ข้อมูลนักวิจัย จันทิมา ฑีฆะ

ข้อมูลส่วนตัว
    • ชื่อ-นามสกุล (ภาษาไทย)ผศ.ดร.จันทิมา ฑีฆะ
    • ชื่อ-นามสกุล (ภาษาอังกฤษ)ผศ.ดร.Jantima Teeka
    • ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
    • ตำแหน่งปัจจุบันผู้ช่วยศาสตราจารย์
    • คณะ/หน่วยงานคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    • โทรศัพท์0627539XXX
    • E-Mail Address่jan_pokpong@yahoo.com
    • สาขาวิชาการที่มีความชำนาญ
    อัพเดทล่าสุด
    09 ก.ย. 2566
    00500
    จำนวนคนดู
โครงการงานวิจัย
1. 2568 : การผลิตน้ำมันยีสต์ร่วมกับแคโรทีนอยด์และการแสดงออกของยีนภายใต้สภาวะกระตุ้นเพื่อสังเคราะห์ไบโอโพลียูริเทนโฟมและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ผู้ร่วมวิจัย 2. 2568 : การปรับปรุงคุณสมบัติการยึดเกาะ การเพิ่มจำนวนเซลล์ และการนำกลับมาใช้ใหม่ ของไมโครแคริเออร์จากพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอตสำหรับการเพาะเลี้ยงเนื้อสัตว์ หัวหน้าโครงการ 3. 2567 : การพัฒนากระบวนการเพาะเลี้ยงเนื้อไก่ด้วยสูตรอาหารที่ไม่มีส่วนประกอบของซีรั่ม หัวหน้าโครงการ 4. 2567 : การผลิตน้ำมันยีสต์และแคโรทีนอยด์ร่วมกันด้วยระบบเก็บกักเซลล์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมโอเลโอเคมีและประมง ผู้ร่วมวิจัย 5. 2566 : การศึกษาการขึ้นรูปไมโครแคริเออร์จากพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอตเป็นวัสดุยึดเกาะสำหรับการเพาะเลี้ยงเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมอาหาร หัวหน้าโครงการ 6. 2566 : การพัฒนากระบวนการผลิตน้ำมันยีสต์ร่วมกับกระบวนการเก็บเกี่ยวสำหรับผลิตสารหล่อลื่นชีวภาพ ผู้ร่วมวิจัย 7. 2565 : โครงการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีพร้อมใช้เพื่อสู่เชิงพาณิชย์ ผู้ร่วมวิจัย 8. 2565 : การผลิตน้ำมันจุลินทรีย์ด้วยการเพาะเลี้ยงเซลล์ความเข้มข้นสูงจากน้ำย่อยฟางข้าวเพื่อผลิตโฟมโพลิยูริเทน ผู้ร่วมวิจัย 9. 2565 : อิทธิพลของเซริซินและไฟโบรอินต่อคุณสมบัติของแผ่นเส้นใยนาโนเซลลูโลสอะซิเตท/พอลิคาโปร แลคโตนสาหรับการประยุกต์ใช้ทางการแพทย์ ผู้ร่วมวิจัย 10. 2564 : การพัฒนาการผลิตแยมกล้วยหอมทองโฮมเมด ผู้ร่วมวิจัย 11. 2564 : การพัฒนาการผลิตผงปรุงรสมะเขือเทศที่มี 5'-ไรโบนิวคลีโอไทด์สูงเพื่อทดแทนผงชูรส ผู้ร่วมวิจัย 12. 2563 : การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้เส้นใยอิเล็กโตรสปันพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอทจาก Novospingobium sp.THA_AIK7 เป็นวัสดุปิดแผล หัวหน้าโครงการ 13. 2562 : การศึกษาความหลากหลายของแบคทีเรียย่อยสลายสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ตกค้างในพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อการประยุกต์ใช้สำหรับพัฒนาพื้นที่เกษตรอินทรีย์ หัวหน้าโครงการ 14. 2562 : การพัฒนาสารสกัดจากเปลือกกล้วยอินทรีย์เพื่อผลิตสารเสริมอาหารเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกรามผสมหัวเชื้อโปรไบโอติก ผู้ร่วมวิจัย 15. 2561 : การเพาะเลี้ยงยีสต์น้ำมัน Pseudozyma parantarctica จากกลีเซอรอลด้วย กระบวนการผลิตน้ำมันแบบสองขั้นตอนเพื่อผลิตไบโอดีเซลรุ่นที่สอง ผู้ร่วมวิจัย 16. 2561 : การใช้ประโยชน์จากแบคทีเรียย่อยสลายไขมันในธรรมชาติเพื่อการฟื้นฟูทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืน ผู้ร่วมวิจัย 17. 2561 : หารคัดเลือกจุลินทรีย์ที่สามารถลดพิษของสารพิษจากเชื้อราเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ หัวหน้าโครงการ 18. 2561 : โครงการวิจัยการใช้ประโยชน์จากแบคทีเรียย่อยสลายไขมันในธรรมชาติเพื่อการบำบัดน้ำเสีย ผู้ร่วมวิจัย 19. 2560 : การศึกษาการสกัดแผ่นฟิล์ม Polyhydroxyalkanoates (PHA) จาก Novosphingobium sp. THA_AIK7 ด้วยวิธีทางเคมี และความเป็นไปได้ในการใช้เป็นวัสดุชีวภาพด้านการแพทย์ หัวหน้าโครงการ 20. 2560 : การผลิตน้ำมันจุลินทรีย์สำหรับผลิตไบโอดีเซลทางเลือกด้วย Pseudozyma parantarctica CHC28 โดยใช้กลีเซอรอลเป็นวัตถุดิบ ผู้ร่วมวิจัย 21. 2559 : การเพิ่มประสิทธิภาพการสกัด Polyhydroxyalkanoates (PHA) ที่สังเคราะห์จาก Novosphingobium sp. THA_AIK7 หัวหน้าโครงการ 22. 2559 : การพิสูจน์เอกลักษณ์ของแบคทีเรียทนร้อนที่สามารถผลิตพลาสติกชีวภาพจากน้ำทิ้งบริเวณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ผู้ร่วมวิจัย 23. 2558 : การศึกษาแหล่งคาร์บอนและไนโตรเจนที่เหมาะสมสำหรับการผลิตPolyhydroxyalkanoates (PHA) จาก Novosphingobium sp. THA_AIK7 หัวหน้าโครงการ
ผลงานตีพิมพ์ วารสารวิชาการ
1. 2562 : การใช้ประโยชน์จากเศษน้ำย่อยแป้งที่เหลือจากโรงงานผลิตน้ำตาลเพื่อผลิตชีวมวลยีสต์: สภาวะที่เหมาะสม และจลนพลศาสตร์ ผู้ร่วม 2. 2562 : สภาวะที่เหมาะสมในการลดค่ากรดที่สูงของน้ำมันยีสต์ Pseudozyma parantarctica CHC28 เพื่อการผลิตไบโอดีเซลจุลินทรีย์ ผู้ร่วม 3. 2562 : การใช้ประโยชน์จากเศษน้ำย่อยแป้งที่เหลือจากโรงงานผลิตน้ำตาลเพื่อผลิตชีวมวลยีสต์: สภาวะที่เหมาะสมและจลนพลศาสตร์ ผู้ร่วม 4. 2562 : สภาวะที่เหมาะสมในการลดค่ากรดที่สูงของน้ำมันยีสต์ Pseudozyma parantarctica CHC28 เพื่อการผลิตไบโอดีเซลจุลินทรีย์ Optimization on Decreasing High Acid Value of Yeast Oil Pseudozyma parantarctica CHC28 for Microbial Biodiesel Production ผู้ร่วม 5. 2562 : อิทธิพลของปัจจัยทางเคมีและทางกายภาพต่อการเพาะเลี้ยงยีสต์น้ามันโดยใช้ กลีเซอรอลดิบจากกระบวนการผลิตไบโอดีเซลเป็นแหล่งคาร์บอนหลัก ผู้ร่วม