-
- ชื่อ-นามสกุล (ภาษาไทย)รศ.ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์
- ชื่อ-นามสกุล (ภาษาอังกฤษ)รศ.ดร.Sorapong Pavasupree
- ตำแหน่งทางวิชาการ-
- ตำแหน่งปัจจุบันรองศาสตราจารย์
- คณะ/หน่วยงานคณะวิศวกรรมศาสตร์
- โทรศัพท์0849892XXX
- E-Mail Addressorapong.p@en.rmutt.ac.th
- สาขาวิชาการที่มีความชำนาญNanomaterials, Nanotechnology, Minerals, TiO2, Plastics Enigineering, Energy Technology, Bioplastic
อัพเดทล่าสุด
09 ก.ย. 256600032จำนวนคนดู
ชื่อโครงการ | การพัฒนาฟองอากาศขนาดนาโนสำหรับบำบัดน้ำเสียชุมชนในเขตเทศบาลเมืองสนั่นรักษ์ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี |
ชื่อโครงการภาษาอังกฤษ | Development of nanobubbles for waste water treatment in Sananrak, Thanyaburi District, Pathum Thani Province |
หน่วยงาน | |
หัวหน้าโครงการ | |
ผู้ร่วมวิจัย |
1. ผศ.ณรงค์ชัย โอเจริญ |
พี่เลี้ยง | |
ที่ปรึกษา | |
ปีงบประมาณ | 2563 |
คำสำคัญ | ฟองอากาศขนาดนาโน บำบัดน้ำเสีย เมืองสนั่นรักษ์ ธัญบุรี |
ผลลัพธ์ | |
บทคัดย่อ (ภาษาไทย) | |
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ) | |
หลักการและเหตุผล | ฟองอากาศนาโน คือ ฟองอากาศขนาดเล็กที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางระดับนาโนเมตร ที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เนื่องจากฟองอากาศนาโนมีขนาดเล็กมากทำให้มีพื้นที่ผิวของอากาศจำนวนมากและความดันภายในฟองมากกว่าความดันภายนอก จึงทำให้สามารถละลายหรือแทรกตัว ในตัวกลางที่เป็นของเหลวได้ ดังนั้นเทคโนโลยีฟองอากาศนาโน จึงนำมาประยุกต์ใช้ในหลายๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นการบำบัดนํ้าเสีย การประมง หรือทางด้านเกษตรกรรมรวมถึงด้านวัสดุและเครื่องสำอาง ช่วยทำให้ประสิทธิภาพการนำไปใช้งานเพิ่มขึ้น ช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ของชุมชนและระดับอุตสาหกรรม จากการลงพื้นที่ พูดคุย ปรึกษาหารือกับชุมชนและผู้ประกอบการผู้ที่ต้องการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีฟองอากาศระดับนาโน ทำให้ทราบถึงปัญหาและโจทย์วิจัยจากชมุชนและผู้ระกอบการ ส่วนใหญ่ คือ ขาดการเข้าถึง องค์ความรู้ที่น่าเชื่อถือได้ การเข้าถึงเทคโนโลยี รวมถึงราคาเครื่องนำเข้าค่อนข้างสูง ซึ่งทางชุมชนและผู้ประกอบการให้ความสนใจกับ อนุสิทธิบัตร (เลขที่คำขอ 1903001126) เทคโนโลยี เครื่องมือทดสอบ การออกแบบ องค์ความรู้ (การ ประชมุวิชาการระดบันานาชาตดิด้านเทคโนโลยีฟองอากาศนาโน ISHPMNB 2019) รวมถึงการเชื่อมต่อกับเจ้าของเทคโนโลยี มาตรฐานต่างๆ ที่ญี่ปุ่น ของ มทร.ธัญบุรี จากการสืบค้นยังไม่พบรายงานการประยุกต์ใช้นํ้าฟองอากาศนาโนเพื่อการบำบัดนํ้าเสียไมโครพลาสติกระดับอุตสาหกรรม ดังนั้นทางคณะผู้วิจัยจึงมีแนวคิดใช้เทคโนโลยีฟองอากาศนาโน ซึ่งมีความสามารถในการช่วยการยกตัวหรือลอยตัวของไมโครพลาสติกได้ โดยจะทำการออกแบบ และสร้างระบบร่วมกับผู้ประกอบการ เพื่อการประยุกต์ใช้งานได้จริง ซึ่งจากผลการทดลองเบื้องต้นโดยประยุกต์ต่อยอดจากอนุสิทธิบัตร (เลขที่คำขอ1903001126) ในระดับกึ่งอุตสาหกรรมพบว่าสามารถผลิตและประยุกต์ใช้งานร่วมกับผู้ประกอบการได้จริง ซึ่งนํ้าฟองอากาศนาโน ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเนื่องจากส่วนผสมมาจากนํ้าและอากาศ |
วัตถุประสงค์ | เพื่อการพัฒนาฟองอากาศขนาดนาโนสำหรับบำบัดน้ำเสียชุมชนในเขตเทศบาลเมืองสนั่นรักษ์ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี |