ข้อมูลนักวิจัย สรพงษ์ ภวสุปรีย์

ข้อมูลส่วนตัว
    • ชื่อ-นามสกุล (ภาษาไทย)รศ.ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์
    • ชื่อ-นามสกุล (ภาษาอังกฤษ)รศ.ดร.Sorapong Pavasupree
    • ตำแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์
    • ตำแหน่งปัจจุบันรองศาสตราจารย์
    • คณะ/หน่วยงานคณะวิศวกรรมศาสตร์
    • โทรศัพท์0849892XXX
    • E-Mail Addresssorapong.p@en.rmutt.ac.th
    • สาขาวิชาการที่มีความชำนาญNanomaterials, Nanotechnology, Minerals, TiO2, Plastics Enigineering, Energy Technology, Bioplastic
    อัพเดทล่าสุด
    09 ก.ย. 2566
    00390
    จำนวนคนดู
โครงการงานวิจัย
1. 2565 : นวัตกรรมเซลล์เคมีไฟฟ้าร่วมเซลล์แสงอาทิตย์สำหรับผลิตไฮโดรเจนและน้ำจืดจากน้ำทะเล ผู้ร่วมวิจัย 2. 2565 : การพัฒนาตัวเรงในการยอยสลายขยะพลาสติก PET โดยใชวัสดุนา โนจากแรไทย หัวหน้าโครงการ 3. 2565 : นวัตกรรมเซลล์เคมีไฟฟ้าร่วมเซลล์แสงอาทิตย์สำหรับผลิตไฮโดรเจนและน้ำจืดจากน้ำทะเล (มีซ้ำแต่คนละอ.) หัวหน้าโครงการ 4. 2565 : การพัฒนาสีสะท้อนความร้อนพอลิยูรีเทนสูตรน้ำโดยใช้วัสดุนาโนจากแร่ลูโคซีนของไทย หัวหน้าโครงการ 5. 2565 : นวัตกรรมเซลล์เคมีไฟฟ้าร่วมเซลล์แสงอาทิตย์สำหรับผลิตไฮโดรเจนและน้ำจืดจากน้ำทะเล หัวหน้าโครงการ 6. 2565 : การแปรรูปเปปไทด์ไฮโดรไลเซทจากปลากดคังและการตรวจสอบกิจกรรมทางชีวภาพเพื่อพัฒนาเป็นส่วนประกอบในอาหาร ผู้ร่วมวิจัย 7. 2565 : การรักษาคุณภาพและยืดอายุดอกเบญจมาศหลังจากเก็บเกี่ยวโดยใช้สเปรย์ที่สกัดจากสารสกัดวัสดุธรรมชาติและฟองอากาศนาโน และการศึกษากลไกของวัสดุนาโนในกระบวนการยืดอายุ ผู้ร่วมวิจัย 8. 2565 : การปรับปรุงการเจริญเติบโตของต้นกล้าเบญจมาศด้วยเทคโนโลยีฟองอากาศระดับนาโนและอนุภาคนาโนไทเทเนียมไดออกไซด์จากแร่ไทย ผู้ร่วมวิจัย 9. 2565 : การพัฒนาระบบการปลูกและการยืดอายุหลังเก็บเกี่ยวดอกเบญจมาศโดยให้เทคโนโลยีวัสดุนาโนและฟองอากาศนาโน ผู้ร่วมวิจัย 10. 2565 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชนิดกลวงจากชานอ้อยเหลือทิ้ง ผู้ร่วมวิจัย 11. 2564 : การพัฒนาชุดความรู้และชุดประสบการณ์เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรไผ่ จังหวัดปราจีนบุรีสู่เชิงพาณิชย์อย่างยั่งยืน ผู้ร่วมวิจัย 12. 2564 : การวิเคราะห์ฟังก์ชันอาหาร และฤทธิ์ทางชีวภาพของสารในเห็ดเยื่อไผ่ เพื่อพัฒนาเป็นนวัตกรรมอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพและผลิตภัณฑ์ความงาม ผู้ร่วมวิจัย 13. 2563 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์สีกันไฟชนิดพองตัว หัวหน้าโครงการ 14. 2563 : การพัฒนาอุตสาหกรรมสีกันไฟชนิดพองตัวโดยใช้วัสดุนาโนจากแร่ไทย หัวหน้าโครงการ 15. 2563 : การพัฒนาการเตรียมนาโนเซลลูโลสจากขยะผงไผ่เหลือทิ้งชุมชน จ.ปราจีนบุรี สำหรับสารเติมแต่งในพอลิเมอร์ย่อยสลายทางชีวภาพ หัวหน้าโครงการ 16. 2563 : โรงงานนำร่องวัสดุนาโนจากแร่ไทย หัวหน้าโครงการ 17. 2563 : การพัฒนาระบบพลาสมาเย็นที่บรรยากาศปกติแบบพกพาสำหรับการเกษตรในตำบลคลองเรือ อำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี ที่ปรึกษา 18. 2563 : การพัฒนาและแปรสภาพของวัตถุดิบเหลือใช้และของเสียจากกลุ่มวิสาหกิจด้านร้านอาหารสัตว์น้ำ ในเขตเทศบาลเมืองท่าโขลง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ผู้ร่วมวิจัย 19. 2563 : การพัฒนาฟองอากาศขนาดนาโนสำหรับบำบัดน้ำเสียชุมชนในเขตเทศบาลเมืองสนั่นรักษ์ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี หัวหน้าโครงการ 20. 2563 : ชุดบดอนุภาคด้วยลูกบดขนาดโรงงานนำร่อง หัวหน้าโครงการ 21. 2563 : ชุดสังเคราะห์วัสดุนาโนจากแร่ไทยขนาดโรงงานนำร่อง หัวหน้าโครงการ 22. 2563 : นวัตกรรมจากขยะไผ่ หัวหน้าโครงการ 23. 2563 : การยกระดับวิธีการรักษาเนื้อไม้ เพื่อพัฒนาคุณภาพของวัตถุดิบไผ่และไผ่เหลือทิ้ง ผู้ร่วมวิจัย 24. 2563 : กระเบื้องยางแผ่นเรียบจากวัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทดแทนแร่ใยหิน หัวหน้าโครงการ 25. 2563 : การผลิตบรรจุภัณฑ์ชนิดกลวงจากผงไผ่เหลือทิ้ง หัวหน้าโครงการ 26. 2562 : การพัฒนาฟองอากาศนาโน/ไมโครเมตร สำหรับการประยุกต์ใช้ด้านเครื่องสำอาง หัวหน้าโครงการ 27. 2562 : การพัฒนาแผ่นอัดต้านเชื้อรา ผู้ร่วมวิจัย 28. 2562 : การพัฒนาวัสดุผสมจากไผ่เหลือทิ้ง หัวหน้าโครงการ 29. 2562 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์สีกันไฟชนิดพองตัว หัวหน้าโครงการ 30. 2562 : การพัฒนาและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากไผ่และของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมไผ่ หัวหน้าโครงการ 31. 2562 : การเตรียมวัสดุนาโนจากแร่อิลเมไนท์ของไทย เพื่อใช้เป็นสารต้านเชื้อแบคทีเรีย หัวหน้าโครงการ 32. 2562 : การเตรียมแผ่นบางขนาดนาโนจากผงสีขาวทาบ้านราคาถูกเพื่อใช้ลดทอนสีย้อมจากอุตสาหกรรมสิ่งทอ ผู้ร่วมวิจัย 33. 2562 : การเตรียมแผ่นดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากแร่สฟีนและรีไซเคิลHDPE ผู้ร่วมวิจัย 34. 2561 : การเตรียมวัสดุนาโนจากแร่ลูโคซีนของไทยและการประยุกต์ใช้เป็นสารเติมแต่งในพอลิแลคติคแอซิด ผู้ร่วมวิจัย 35. 2561 : การเตรียมแผ่นบางขนาดนาโนจากแร่เม็กเนติกลูโคซีนของไทยเพื่อใช้เป็นวัสดุกำบังรังสีแกมมา หัวหน้าโครงการ 36. 2561 : การเตรียมนาโนแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกหอยแมลงภู่เพื่อใช้เป็นสารหน่วงไฟในพอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูง ผู้ร่วมวิจัย 37. 2561 : โครงการเตรียมวัสดุนาโนจากแร่ไทยราคาถูก หัวหน้าโครงการ 38. 2560 : พอลิเอทธิลีนความหนาแน่นสูงที่ผ่านการใช้งานแล้วในผลิตภัณฑ์จากการขึ้นรูปแบบหมุน ผู้ร่วมวิจัย 39. 2560 : การพัฒนาสมบัติความเหนียวของวัสดุคอมโพสิทพอลิแลกติกแอซิดและพอลิบิวธิลีนซัคซิเนตและทัลคัมเพื่องานบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ผู้ร่วมวิจัย 40. 2560 : การเตรียมนาโนแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกหอยลายเพื่อใช้เป็นสารหน่วงไฟในพอลิเอทิลีน ผู้ร่วมวิจัย 41. 2560 : การเตรียมแผ่นดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าโดยใช้วัสดุรีไซเคิลขวด HDPE และวัสดุนาโน/ไมโครจากแร่รูไทล์ของไทย หัวหน้าโครงการ 42. 2559 : การขจัดสีในสีย้อมน้ำเสียจากสิ่งทอและพลาสติกโดยใช้แผ่นบางขนาดนาโนจากแร่อิลเมไนท์ของไทย หัวหน้าโครงการ 43. 2559 : ผลกระทบของการเติมนาโนแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกหอยเชอรี่ในพอลิแลคติคแอซิดเพื่อใช้เป็นสารหน่วงไฟ ผู้ร่วมวิจัย 44. 2558 : ผลิตภัณฑ์แบบผนังหลายชั้นจากผงพลาสติกหลายชนิดด้วยกระบวนการขึ้นรูปแบบหมุน ผู้ร่วมวิจัย 45. 2558 : การเตรียมพอลิเมอร์ผสมเพื่อขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์เครื่องสำอางจากพอลิแลกติกแอซิดและพอลิพรอพิลีนโดยกระบวนการฉีดขึ้นรูป ผู้ร่วมวิจัย 46. 2558 : การเตรียมสารกึ่งตัวนำประเภทแผ่นบางขนาดนาโนที่มีสมบัติการเร่งปฏิกิริยาสูงจากแร่ลูโคซีนของไทย หัวหน้าโครงการ 47. 2557 : การเตรียมแผ่นบางนาโนจากแร่อิลเมไนท์ของไทยด้วยชุดถังปฏิกรณ์ที่สร้างขึ้นเองในประเทศ หัวหน้าโครงการ 48. 2556 : การเตรียมพีวีซีทนความร้อนสูงเพื่อใช้ในกระบวนการจุ่มเคลือบพีวีซีเหลว ผู้ร่วมวิจัย 49. 2556 : การขึ้นรูปเรือขนาดเล็กด้วยกระบวนการขึ้นรูปแบบหมุน ผู้ร่วมวิจัย 50. 2556 : การปรับปรุงคุณลักษณะทางไฟฟ้าและอายุการใช้งานของแผ่นซิงค์ออกไซด์ที่มีผลกระทบจากความชื้นที่เกิดในกับดักเสิร์จแรงดันต่ำ ผู้ร่วมวิจัย 51. 2556 : การพัฒนาสมบัติของโพลิแลคติกแอซิดเพื่อการใช้งานเป็นบรรจุภัณฑ์แบบยืดหยุ่น ผู้ร่วมวิจัย 52. 2556 : การผลิตเส้นใยพอลิพรอพิลีนผสมผงถ่านจากซังข้าวโพด ผู้ร่วมวิจัย 53. 2556 : การเตรียมและสมบัติการกระตุ้นปฏิกิริยาโดยใช้แสงของท่อนาโนจากแร่อิลเมไนท์ของไทย หัวหน้าโครงการ 54. 2556 : การพัฒนายางผสมตอบสนองทางไฟฟ้าประยุกต์ใช้ในแขนจักรกลอุตสาหกรรม ผู้ร่วมวิจัย 55. 2555 : การพัฒนาแผ่นชิ้นไม้อัดซึ่งใช้ตัวเชื่อมประสานจากเปลือกทุเรียน โดยกระบวนการไมโครเวฟในกระบวนการอบแผ่น ผู้ร่วมวิจัย 56. 2555 : การสร้างเครื่องบดผงพลาสติกสำหรับการขึ้นรูปแบบหมุน ผู้ร่วมวิจัย 57. 2555 : การออกแบบและสร้างดุมล้อมอเตอร์สำหรับรถยนต์ไฟฟ้า ผู้ร่วมวิจัย 58. 2552 : วัสดุเส้นใยนาโนราคาถูกจากแร่ไทยโดยวิธีการสังเคราะห์แบบง่ายและไม่เป็นพิษกับสิ่งแวดล้อม หัวหน้าโครงการ 59. 2552 : การเตรียมวัสดุทดแทนพีวีซีในกระบวนการจุ่มเคลือบพลาสติกเหลว ผู้ร่วมวิจัย
ผลงานตีพิมพ์ ทรัพย์สินทางปัญญา
1. 2562 : วิธีการเตรียมฟองอากาศขนาดเล็กในน้ำเพื่อใช้เพิ่มประสิทธิภาพการเร่งปฏิกิริยาโดยใช้แสง ชื่อผู้ประดิษฐ์/ผู้ออกแบบ 2. 2558 : การเตรียมแผ่นดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าโดยใช้วัสดุรีไซเคิลขวด HDPE และวัสดุนาโน/ไมโครจากแร่รูไทล์ ชื่อผู้ประดิษฐ์/ผู้ออกแบบ 3. 2558 : กรรมวิธีการเตรียมแผ่นบางขนาดนาโนจากแร่แม็กเนติกลูโคซีน เพื่อใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้แสง ชื่อผู้ประดิษฐ์/ผู้ออกแบบ 4. 2558 : กรรมวิธีการเตรียมแผ่นบางขนาดนาโนจากแร่อิลเมไนท์เพื่อใช้ในการการขจัดสีในสีย้อมน้ำเสียจากสิ่งทอ ชื่อผู้ประดิษฐ์/ผู้ออกแบบ 5. 2558 : กรรมวิธีการเตรียมวัสดุนาโนจากแร่แม็กเนติกลูโคซีนเพื่อใช้เป็นวัสดุลดทอนและป้องกันรังสีเอ็กซ์ (X-ray) ชื่อผู้ประดิษฐ์/ผู้ออกแบบ 6. 2558 : กรรมวิธีการเตรียมกล่องชิ้นงานกลวงจากวัสดุผสมพลาสติกรีไซเคิลพอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูงและกากกาแฟโดยวิธีการขึ้นรูปแบบหมุน ชื่อผู้ประดิษฐ์/ผู้ออกแบบ 7. 2558 : กรรมวิธีการเตรียมแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกหอยเชอรี่เพื่อใช้เป็นสารเติมแต่งในพอลิเมอร์ ชื่อผู้ประดิษฐ์/ผู้ออกแบบ 8. 2561 : วิธีการเตรียมฟองอากาศขนาดเล็กในน้ำเพื่อใช้เพิ่มประสิทธิภาพการเร่งปฏิกิริยาโดยใช้แสง ชื่อผู้ประดิษฐ์/ผู้ออกแบบ 9. 2550 : เส้นใยนาโนจากแร่ลูโคซีน ชื่อผู้ประดิษฐ์/ผู้ออกแบบ 10. 2550 : แผ่นนาโนแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์และแมกนีเซียมออกไซด์ ชื่อผู้ประดิษฐ์/ผู้ออกแบบ 11. 2550 : ท่อนาโน ลวดนาโน ไททาเนทและไททาเนียมไดออกไซด์บนแผ่นโลหะไททาเนียม ชื่อผู้ประดิษฐ์/ผู้ออกแบบ 12. 2550 : แผ่นบางนาโนไททาเนียมไดออกไซด์ที่มีค่าพื้นที่ผิวจำเพาะสูงและค่าการกระตุ้นปฏิกิริยาโดยใช้แสงสูง ชื่อผู้ประดิษฐ์/ผู้ออกแบบ 13. 2565 : สูตรและกรรมวิธีการเตรียมสีสะท้อนความร้อนจากวัสดุนาโนแร่อิลเมไนท์เพื่อการประหยัดพลังงาน ชื่อผู้ประดิษฐ์/ผู้ออกแบบ 14. 2565 : สูตรและกรรมวิธีการเตรียมวัสดุเคลือบผิวเหล็กป้องกันไฟที่มีแร่รูไทล์เป็นส่วนผสม สำหรับอาคารเหล็กโครงสร้าง ชื่อผู้ประดิษฐ์/ผู้ออกแบบ