ข้อมูลนักวิจัย สมพงษ์ แสนเสนยา

ข้อมูลส่วนตัว
    • ชื่อ-นามสกุล (ภาษาไทย)รศ.ดร.สมพงษ์ แสนเสนยา
    • ชื่อ-นามสกุล (ภาษาอังกฤษ)รศ.ดร.Sompong Sansenya
    • ตำแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์
    • ตำแหน่งปัจจุบันรองศาสตราจารย์
    • คณะ/หน่วยงานคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    • โทรศัพท์0905648XXX
    • E-Mail Addresssompong_biochem@yahoo.co.th
    • สาขาวิชาการที่มีความชำนาญเชี่ยวชาญด้าน เอนไซม์วิทยา, วิศวกรรมของ DNA และโปรตีน
    อัพเดทล่าสุด
    09 ก.ย. 2566
    00460
    จำนวนคนดู
โครงการงานวิจัย
1. 2567 : ผลของสารอัลลีโลพาธิก 2,4-Di-Tert-butylphenolจากพืชตระกูล Poaceae ต่อการควบคุมวัชพืช ผู้ร่วมวิจัย 2. 2567 : อิมมูโนเซ็นเซอร์ที่เชื่อมกับคาร์บอนควอนตัมดอทสำหรับตรวจวัดการตกค้างของยาปฏิชีวนะกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ในน้ำนม ผู้ร่วมวิจัย 3. 2567 : การประเมินศักยภาพของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่มีฤทธิ์ในการลดระดับน้ำตาลในเลือด (สารยับยั้งเอนไซม์ เอลฟากลูโคซิเดส และ เอนไซม์ เอลฟาอะไมเลส) จากเห็ดป่ากินได้ในประเทศไทย หัวหน้าโครงการ 4. 2567 : แผ่นตรวจสอบสำเร็จรูปสำหรับตรวจหาสารพิษแอมาทอกซิน ผู้ร่วมวิจัย 5. 2566 : แผ่นสตริปแบบรวดเร็วชนิดตลับ 2 in 1 สำหรับตรวจสารตกค้างลูโคมาลาไคธ์ กรีน และมาลาไคธ์ กรีนในสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์แปรรูป ผู้ร่วมวิจัย 6. 2566 : การเพิ่มปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในข้าวกล้องงอกมีสีด้วยเทคนิคการฉายรังสีแกมมาร่วมกับการเพิ่มกรดอะมิโน เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกมีสี หัวหน้าโครงการ 7. 2565 : การเพิ่มปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในข้าวกล้องงอกมีสีด้วยเทคนิคการฉายรังสีแกมมาร่วมกับการเพิ่มกรดอะมิโน เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกมีสี หัวหน้าโครงการ 8. 2565 : การเพิ่มปริมาณแกมมาโอไรซานอลในข้าวกล้องงอกมีสีด้วยเทคนิคการฉายรังสีแกมมา เพื่อเพิ่มมูลค่าและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกมีสีคุณค่าทางโภชนาการสูง หัวหน้าโครงการ 9. 2565 : นวัตกรรมแผ่นตรวจวัดแบบรวดเร็วสำหรับตรวจหายาฆ่าแมลงในผักและผลไม้ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้ผักและผลไม้ปลอดสารพิษ ผู้ร่วมวิจัย 10. 2565 : แผ่นสตริปแบบรวดเร็วชนิดตลับ 2 in 1 สำหรับตรวจสารตกค้างลูโคมาลาไคธ์ กรีน และมาลาไคธ์ กรีนในสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์แปรรูป ผู้ร่วมวิจัย 11. 2564 : ศักยภาพของข้าวมีสีในการเป็นพรีไบโอติกส์เพื่อการพัฒนาเป็นอาหารเสริมลดระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ร่วมวิจัย 12. 2564 : ความหลากหลายของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่สามารถยับยั้งโรคเบาหวาน โรคอัลไซเมอร์ จากข้าวพื้นเมืองมีสีในประเทศไทย เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการอนุรักษ์ และพัฒนาสายพันธุ์ข้าว หัวหน้าโครงการ 13. 2564 : เครื่องดื่มกึ่งสำเร็จรูปจากโปรตีนทางเลือกคุณภาพสูงจากสารสกัดแมลง สำหรับลดความเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคอัลไซเมอร์ และการยับยั้งการสร้างเมลานิน ผู้ร่วมวิจัย 14. 2564 : การสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากแมลงกินได้ที่สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือด ลดความเสี่ยงโรคความจาเสื่อม และยับยั้งการสร้างเม็ดสีเมลานิน ผู้ร่วมวิจัย 15. 2564 : การสกัดโปรตีนคุณภาพสูงจากแมลงกินได้ หัวหน้าโครงการ 16. 2564 : ชุดตรวจสอบสำเร็จรูปสำหรับตรวจวัดปริมาณโปรตีนคุณภาพสูงในแมลงอย่างรวดเร็ว และแม่นยำ ผู้ร่วมวิจัย 17. 2564 : การพัฒนากระบวนการผลิตและยกระดับหน่อไม้เพื่อเข้าสู่ตลาดระดับภาคบริการและธุรกิจ สตารท์อัพ ผู้ร่วมวิจัย 18. 2564 : ความหลากหลายของโปรตีนคุณภาพสูง และสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในการลดระดับน้ำตาลในเลือด ยับยั้งโรคความจำเสื่อม และยับยั้งการสร้างเม็ดสีเมลานินจากสายพันธุ์แมลงกินได้ เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ หัวหน้าโครงการ 19. 2564 : กระบวนการผลิตแป้งกล้วยหอมที่เหมาะสม ผู้ร่วมวิจัย 20. 2563 : การเพิ่มปริมาณสารหอม (2-อะเซทิล-1-ไพโรลีน) และกรดแกมมาอะมิโนบิวทิริก (กาบา) โดยใช้เทคนิคเกษตรอินทรีย์ เพื่อเพิ่มมูลค่าข้าวพันธุ์พื้นเมือง กลุ่มข้าวมีสี จังหวัดปทุมธานี สู่การยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในองค์การบริหารส่วนตำบลคลองสี่ จังหวัดปทุมธานี ผู้ร่วมวิจัย 21. 2563 : นวัตกรรมชุดตรวจสอบแป้งทนย่อยเพื่อจำแนกสายพันธุ์ข้าวที่มีคุณค่าทางโภชการสูง ผู้ร่วมวิจัย 22. 2563 : การเพิ่มปริมาณแป้งทนย่อยให้กับข้าวพื้นเมืองจังหวัดปทุมธานี โดยใช้เทคนิคการฉายรังสีแกมมา ผู้ร่วมวิจัย 23. 2563 : การศึกษาสารออกฤทธิ์และการยืดอายุหน่อไม้สด หัวหน้าโครงการ 24. 2562 : การวิเคราะห์สารปนเปื้อนและสารเจือปนในหน่อไม้สดและผลิตภัณฑ์จากหน่อไม้ หัวหน้าโครงการ 25. 2562 : ผลของรังสีแกมมาต่อการทำงานของเอนไซม์ glutamate decarboxylase (GAD) และ betaine aldehyde dehydrogenase (BADH2) และการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารหอม (2-acetyl-1-pyrroline) และปริมาณ gamma-aminobutyric acid (GABA) ของสายพันธุ์ข้าวไม่หอมเพื่อพัฒนาเป็นสายพันธุ์ข หัวหน้าโครงการ 26. 2562 : การอนุรักษ์สายพันธุ์ข้าวหอมพื้นเมืองจังหวัดปทุมธานี ผู้ร่วมวิจัย 27. 2561 : การศึกษาความสัมพันธ์ของปริมาณโพรลีน และปริมาณสารหอมในระหว่างการเจริญเติบโตของข้าว และผลของรังสีแกมมาต่อปริมาณโพรลีน และปริมาณสารหอมในข้าวหอมดอกมะลิ 105 หัวหน้าโครงการ 28. 2561 : การศึกษาปริมาณ gamma-oryzanol และผลของรังสีแกมมาต่อปริมาณ gamma-oryzanol ในข้าวพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการอนุรักษ์ และการเพิ่มมูลค่าให้กับข้าวพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หัวหน้าโครงการ 29. 2560 : การเพิ่มปริมาณแป้งทนย่อย กรดแกมมาแอมิโนบิวทิริก (กาบา) แอนโทไซยานิน และสารหอม (2-acetyl-1-pyrrlorine) ด้วยเทคนิคการฉายรังสีแกมมา เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับข้าว และเพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน หัวหน้าโครงการ 30. 2560 : การศึกษาปริมาณสารหอม (2-acetyl-1-pyrroline) และความหลากหลายของชนิดสารระเหยที่พบในข้าวไร่ลืมผัวในพื้นที่เพาะปลูกต่างๆ ของประเทศไทยเพื่อสร้างมาตรฐาน และเพิ่มมูลค่าให้กับข้าวไร่ลืมผัว หัวหน้าโครงการ