ข้อมูลนักวิจัย เนตรนภิส แก้วช่วย

ข้อมูลส่วนตัว
    • ชื่อ-นามสกุล (ภาษาไทย)ผศ.เนตรนภิส แก้วช่วย
    • ชื่อ-นามสกุล (ภาษาอังกฤษ)ผศ.Netnapit Kaewchoay
    • ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
    • ตำแหน่งปัจจุบันผู้ช่วยศาสตราจารย์
    • คณะ/หน่วยงานคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    • โทรศัพท์0915188XXX
    • E-Mail Addressjnetnapit@gmail.com
    • สาขาวิชาการที่มีความชำนาญสอนรายวิชาเคมี,งานกิจกรรมนักศึกษา,งานด้านทุนการศึกษาของนักศึกษาและการประกันอุบัติเหตุนศ.
    อัพเดทล่าสุด
    09 ก.ย. 2566
    00186
    จำนวนคนดู
โครงการงานวิจัย
1. 2567 : การประเมินศักยภาพของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่มีฤทธิ์ในการลดระดับน้ำตาลในเลือด (สารยับยั้งเอนไซม์ เอลฟากลูโคซิเดส และ เอนไซม์ เอลฟาอะไมเลส) จากเห็ดป่ากินได้ในประเทศไทย ผู้ร่วมวิจัย 2. 2567 : แผ่นตรวจสอบสำเร็จรูปสำหรับตรวจหาสารพิษแอมาทอกซิน ผู้ร่วมวิจัย 3. 2566 : แผ่นสตริปแบบรวดเร็วชนิดตลับ 2 in 1 สำหรับตรวจสารตกค้างลูโคมาลาไคธ์ กรีน และมาลาไคธ์ กรีนในสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์แปรรูป ผู้ร่วมวิจัย 4. 2566 : การเพิ่มปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในข้าวกล้องงอกมีสีด้วยเทคนิคการฉายรังสีแกมมาร่วมกับการเพิ่มกรดอะมิโน เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกมีสี ผู้ร่วมวิจัย 5. 2566 : การเตรียมและประยุกต์ใช้ท่อนาโนคาร์บอนเป็นวัสดุดูดซับการสกัดด้วยวัฏภาคของแข็งสำหรับฟอร์มัลดีไฮด์ หัวหน้าโครงการ 6. 2565 : การเพิ่มปริมาณแกมมาโอไรซานอลในข้าวกล้องงอกมีสีด้วยเทคนิคการฉายรังสีแกมมา เพื่อเพิ่มมูลค่าและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกมีสีคุณค่าทางโภชนาการสูง ผู้ร่วมวิจัย 7. 2565 : นวัตกรรมแผ่นตรวจวัดแบบรวดเร็วสำหรับตรวจหายาฆ่าแมลงในผักและผลไม้ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้ผักและผลไม้ปลอดสารพิษ ผู้ร่วมวิจัย 8. 2565 : แผ่นสตริปแบบรวดเร็วชนิดตลับ 2 in 1 สำหรับตรวจสารตกค้างลูโคมาลาไคธ์ กรีน และมาลาไคธ์ กรีนในสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์แปรรูป ผู้ร่วมวิจัย 9. 2565 : การเพิ่มปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในข้าวกล้องงอกมีสีด้วยเทคนิคการฉายรังสีแกมมาร่วมกับการเพิ่มกรดอะมิโน เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกมีสี ผู้ร่วมวิจัย 10. 2564 : ชุดตรวจสอบสำเร็จรูปสำหรับตรวจวัดปริมาณโปรตีนคุณภาพสูงในแมลงอย่างรวดเร็ว และแม่นยำ ผู้ร่วมวิจัย 11. 2564 : การพัฒนาการผลิตแยมกล้วยหอมทองโฮมเมด ผู้ร่วมวิจัย 12. 2564 : กระบวนการผลิตแป้งกล้วยหอมที่เหมาะสม ผู้ร่วมวิจัย 13. 2564 : การพัฒนาเคโมเซนเซอร์ร่วมกับอนุภาคนาโนทองสำหรับตรวจวัดตะกั่วและการประยุกต์ใช้สำหรับสร้างแผ่นสตริปเพื่อตรวจวัดในภาคสนาม ผู้ร่วมวิจัย 14. 2563 : การจัดทำมาตรฐานของสารสกัดใบไผ่เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบ ในการผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและ ความงาม หัวหน้าโครงการ 15. 2563 : นวัตกรรมชุดตรวจสอบแป้งทนย่อยเพื่อจำแนกสายพันธุ์ข้าวที่มีคุณค่าทางโภชการสูง ผู้ร่วมวิจัย 16. 2563 : การเพิ่มปริมาณแป้งทนย่อยให้กับข้าวพื้นเมืองจังหวัดปทุมธานี โดยใช้เทคนิคการฉายรังสีแกมมา หัวหน้าโครงการ 17. 2563 : การพัฒนาและแปรสภาพวัสดุทางการเกษตรของชุมชน ในจังหวัดปทุมธานี เพื่อลดปริมาณของเสีย และการเพิ่มมูลค่าของวัสดุเหลือใช้ หัวหน้าโครงการ 18. 2562 : การอนุรักษ์สายพันธุ์ข้าวหอมพื้นเมืองจังหวัดปทุมธานี หัวหน้าโครงการ 19. 2562 : อนุภาคนาโนพอลิเมอร์ที่มีขนาดใกล้เคียงกันและมีความเสถียรสูงสำหรับการแยกสีย้อมชนิดประจุบวกและลบ ผู้ร่วมวิจัย 20. 2562 : การพัฒนาเทคนิคไทเทรตแบบรีด็อกซ์โดยใช้เทคนิคอุปกรณ์ตรวจวัดแบบ กระดาษสำหรับวิเคราะห์หาวิตามินซีในเครื่องดื่มสำเร็จรูป ผู้ร่วมวิจัย 21. 2562 : ผลของรังสีแกมมาต่อการทำงานของเอนไซม์ glutamate decarboxylase (GAD) และ betaine aldehyde dehydrogenase (BADH2) และการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารหอม (2-acetyl-1-pyrroline) และปริมาณ gamma-aminobutyric acid (GABA) ของสายพันธุ์ข้าวไม่หอมเพื่อพัฒนาเป็นสายพันธุ์ข ผู้ร่วมวิจัย 22. 2561 : การศึกษาความสัมพันธ์ของปริมาณโพรลีน และปริมาณสารหอมในระหว่างการเจริญเติบโตของข้าว และผลของรังสีแกมมาต่อปริมาณโพรลีน และปริมาณสารหอมในข้าวหอมดอกมะลิ 105 ผู้ร่วมวิจัย 23. 2561 : การศึกษาปริมาณ gamma-oryzanol และผลของรังสีแกมมาต่อปริมาณ gamma-oryzanol ในข้าวพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการอนุรักษ์ และการเพิ่มมูลค่าให้กับข้าวพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้ร่วมวิจัย 24. 2561 : การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียต้นแบบ ในฟาร์มเลี้ยงกุ้งโดยใช้วัสดุผสมของโฟโตคะตะไลติกกับพอลิเมอร์นำไฟฟ้า ผู้ร่วมวิจัย 25. 2561 : การพัฒนาระบบตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้าที่ประดิษฐ์จากกระดาษราคาถูกร่วมกับท่อนาโนคาร์บอนสำหรับตรวจวัดสารประกอบฟีนอลในน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมด้วยเทคนิคไบโอเซนเซอร์ ผู้ร่วมวิจัย 26. 2560 : การเพิ่มปริมาณแป้งทนย่อย กรดแกมมาแอมิโนบิวทิริก (กาบา) แอนโทไซยานิน และสารหอม (2-acetyl-1-pyrrlorine) ด้วยเทคนิคการฉายรังสีแกมมา เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับข้าว และเพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ร่วมวิจัย 27. 2560 : การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวัดแบบกระดาษสำเร็จรูปสำหรับตรวจวัดไนเตรตและไนไตรต์ในเวลาเดียวกันที่ตกค้างในอาหาร ผู้ร่วมวิจัย 28. 2560 : การศึกษาปริมาณสารหอม (2-acetyl-1-pyrroline) และความหลากหลายของชนิดสารระเหยที่พบในข้าวไร่ลืมผัวในพื้นที่เพาะปลูกต่างๆ ของประเทศไทยเพื่อสร้างมาตรฐาน และเพิ่มมูลค่าให้กับข้าวไร่ลืมผัว ผู้ร่วมวิจัย 29. 2559 : การพัฒนาชุดทดสอบตรวจหาไทรามีนในอาหาร ผู้ร่วมวิจัย 30. 2558 : การพัฒนาชุดทดสอบตรวจหาไทรามีนในอาหาร ผู้ร่วมวิจัย